日本人が毎日つかっている文字には、かんじと、ひらがなと、かたかながあります。
ローマ字もありますが、文の中ではあまりつかいません。
かなは、ことばの音をあらわします。
たとえば、「まど」の「ま」という音は、「まえ」の「ま」とおなじです。
しかし、かんじは、かなとちがって、いみもあらわします。
たとえば、「木」は「き」という音をもっていますが、「 」といういみもあります。
「気」も「き」とよみますが、いみがちがいます。
ตัวอักษรที่ชาวญี่ปุ่นใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวันนั้นมี คันจิ ฮิรางานะ และคาตาคานะ
ถึงแม้จะมีตัวอักษรโรมาจิก็ตาม แต่ก็ไม่ค่อยใช้ในประโยค
ตัวอักษรคานะนั้นจะใช้แสดงเสียงของคำ
ตัวอย่าง เสียง「มะ」ใน「มะโดะ」นั้นก็จะเหมือนกับเสียง「มะ」ในคำว่า「มะเอะ」
แต่อักษรคันจินั้นจะแตกต่างจากอักษรคานะ และก็จะแสดงความหมายด้วย
ตัวอย่างเช่น「木 」นั้น มีเสียง「คิ」แล้วก็ยังมีความหมายว่า 「 」 ด้วย
ส่วน「気」 นั้นก็อ่านว่า「คิ」เช่นกัน แต่มีความหมายแตกต่างกัน
かんじは、中国で生まれた古い文字です。
日本人は、1700年ぐらい前に、かんじを知りました。
かんじを知る前に、日本には文字がありませんでした。
日本人は、中国語のはつおんにちかいよみ方で、かんじをよみました。
たとえば、「水」は「すい」とよみました。
しかし、日本語にも、おなじいみをあらわす「みず」ということばがありました。
今、「水」にはよみ方が二つあります。
「すい」というよみ方は、音よみといって、「みず」というよみ方は、くんよみといいます。
อักษรคันจินั้นเป็นอักษรโบราณที่ถือกำเนิดขึ้นในประเทศจีน
ชาวญี่ปุ่นนั้นได้รู้จักอักษรคันจิเมื่อประมาณ 1700 ปีก่อนหน้านี้
ก่อนที่จะได้รู้จักกับอักษรคันจินั้น ที่ญี่ปุ่นไม่มีตัวอักษร
ชาวญี่ปุ่นนั้นจะอ่านอักษรคันจิโดยใช้วิธีอ่านที่ใกล้เคียงกับการออกเสียงภาษาจีน
ตัวอย่าง 「水 」 จะอ่านว่า「ซึย」
แต่ในภาษาญี่ปุ่นมีคำว่า「มิซึ」ที่แสดงความหมายเหมือนกันเช่นกัน
ในปัจจุบันมีวีธีการอ่านคำว่า「 水 」2แบบ
คำอ่านว่า「ซึย」นั้นเรียกว่าวิธีการอ่านแบบจีน ส่วนคำอ่านว่า「มิซึ」นั้นจะเรียกว่าเป็นการอ่านแบบญี่ปุ่น
日本人は、はじめ、かんじだけで文を書きました。
しかし、このやり方は、あまりよくありませんでしたから、あとで、かなをつくって、つかいました。
かたかなは、かんじのいちぶをとって、つくりました。
ชาวญี่ปุ่นนั้นแต่เดิมจะเขียนประโยคโดยใช้อักษรคันจิเท่านั้น
แต่ว่าเนื่องจากวิธีนี้ไม่ค่อยดี ดังนั้นในภายหลังจึงมีการประดิษฐ์และใช้อักษรคานะขึ้น
ส่วนตัวคาตาคานะนั้นก็ประดิษฐ์ขึ้นโดยเอามาจากส่วนหนึ่งของอักษรคันจิ
(れい)多一夕 知→チ 川→ツ 天→テ 八→ハ 万→マ 三→ミ 女→メ 良→ラ
ひらがなは、かんじのぜんたいのかたちをかえて、つくりました。
( ตัวอย่าง ) 多一夕 知→チ 川→ツ 天→テ 八→ハ 万→マ 三→ミ 女→メ 良→ラ
ส่วนอักษรฮิรางานะนั้นประดิษฐ์ขึ้นโดยเปลี่ยนรูปทั้งหมดของอักษรคันจิ
(れい)安→あ 左→さ 太→た 知→ち 川→つ 天→て 女→め 良→ら
( ตัวอย่าง ) 安→あ 左→さ 太→た 知→ち 川→つ 天→て 女→め 良→ら
かなが生まれてから、日本語の文は、あたらしい書き方になりました。
そして、かんじは、ほんとうに日本語のいちぶになりました。
หลังจากที่อักษรคานะได้ถือกำเนิดขึ้น ประโยคในภาษาญี่ปุ่นก็มีวิธีเขียนแบบใหม่
หลังจากนั้นอักษรคันจิก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของภาษาญี่ปุ่นอย่างแท้จริง