▶ 目次 Index
初級日本語
中級日本語
みんなの日本語
大学生の日本語
実力日本語
JPLANG文型五十音順
▶ 言語 language
العربية
English
Bahasa Indonesia
Bahasa Melayu
Polska
Српски
ไทย
中文(繁體)
Việt
中文(简体)
Italiano
Deutsch
русский
Español
සිංහ
▶ 中級日本語
▶ 書き方 Strokes
Login ID
Password
Login
If you have a user ID and Password of JPLANG, please use it.
Otherwise, please
register
yourself.
1 じこしょうかい Introducing Myself
2 かまくら Kamakura
3 かんじのはなし The Story behind Kanji
4 ロボット
5 おぽんの行事 The Obon Festival
6 じしん Earthquake
7 おくり物 Sending Gifts
8 海洋開発 Ocean Exploration
9 つるの話 The Evening Crane
10 手紙 Letters
5 おぽんの行事 The Obon Festival
前へ
start
次へ
やく
5 おぽんの行事
5 เทศกาลโอบ้ง
かんじ
音
よむ
start
なつになると、日本の町や村で「おぼん」の行事が見られます。
おぼんというのは、年中行事の一つです。
7月にする地方もありますが、いなかでは、たいてい8月13日から15日ごろにします。
人びとは、おぼんになると、なくなったかぞくや先祖がうちへかえって来るとかんがえています。
このおぼんの間、人びとは食べ物などを用意して、先祖をうちにむかえるのです。
つぎにしょうかいするのは、長野県の村の行事ですが、ほかのいなかのおぼんも、これとにています。
เมื่อเข้าฤดูร้อนเราก็จะได้พบเห็นเทศกาล“โอบ้ง”ตามเมืองและหมู่บ้านในประเทศญี่ปุ่น
เทศกาลที่เรียกว่าโอบ้งนั้นถือเป็นหนึ่งในเทศกาลประจำปี
ในบางพื้นที่จะจัดขึ้นในเดือนกรกฎาคม แต่ในต่างจังหวัด ส่วนใหญ่จะจัดกันตั้งแต่วันที่ 13 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม
เมื่อถึงเทศกาลโอบ้ง ผู้คนถือว่าครอบครัวหรือบรรพบุรุษที่เสียชีวิตไปแล้วจะเดินทางกลับบ้าน
ในช่วงเทศกาลโอบ้ง ผู้คนก็จะจัดเตรียมอาหารเพื่อต้อนรับบรรพบุรุษกลับสู่บ้าน
และที่จะแนะนำต่อไปนี้ก็คือ พิธีที่หมู่บ้านในจังหวัดนางาโนะ ส่วนเทศกาลโอบ้งในต่างจังหวัดอื่นๆ ก็จะคล้ายกับพิธีที่นี่
おぼんの日が近くなると、人びとは、家の中にたなを作って、その上に、花やおかしややさいをのせます。
先祖が家へかえって来る時は、乗り物がいるから、用意しなければなりません。
乗り物は馬と牛です。
馬はきゅうりで、牛はなすで作ります。
家へかえって来る時は、足の早い馬に乗ります。
おぼんがおわって、家を出て行く時は、足のおそい牛に乗ります。
13日の夕方、門のところで火を用意して、家の前を明るくします。
これを「むかえ火」といいます。
家の前が明るいと、どこにあるか、よくわかって、先祖がまっすぐかえって来られるのです。
そのよるは、かぞくやしんるいの人びとが集まって、なくなった人たちのことを思い出しながら、いろいろな話をします。
家の外では、広場や学校の庭などに人びとが集まって、よるおそくまでにぎやかに「ぼんおどり」をします。
เมื่อใกล้จะถึงเทศกาลโอบ้ง ผู้คนก็จะทำหิ้งขึ้นในบ้านแล้วก็วางดอกไม้และขนมบนนั้น
ตอนที่บรรพบุรุษกลับมาที่บ้านนั้น ต้องมียานพาหนะ จึงต้องจัดเตรียมเอาไว้
ยานพาหนะนั้นก็คือม้าและวัว
ม้านั้นใช้แตงกวาทำ ส่วนวัวใช้มะเขือยาวทำ
ตอนที่กลับมาบ้านจะขี่ม้าที่วิ่งเร็วมา
ตอนที่เทศกาลโอบ้งจบลง และจะออกไปจากบ้านก็จะขี่วัวที่ช้ากลับไป
ในตอนเย็นของวันที่ 13 ก็จะมีการจัดเตรียมไฟไว้ที่ประตูหน้าบ้าน ทำให้หน้าประตูสว่างไสว
สิ่งนี้เรียกว่า “ไฟต้อนรับ ”
เพราะว่าเมื่อหน้าบ้านสว่างไสว บรรพบุรุษก็จะรู้ได้ว่าอยู่ที่ไหนและสามารถมุ่งตรงกลับมายังที่บ้านได้
และในค่ำคืนนั้นครอบครัวและญาติก็จะรวมตัวกัน รำลึกถึงบุคคลผู้ที่ได้ล่วงลับไปแล้วพร้อมๆ กับพูดคุยเรื่องราวต่างๆ กัน
ที่นอกบ้านผู้คนก็จะไปรวมตัวกันที่ลานจัดงานหรือสวนของโรงเรียน แล้วก็จะ“รำวงบงโอโดริ”กันอย่างครึกครื้นจนดึก
8月16日は、先祖を送る日です。
人びとは、おかしや花を川へ持って行って、流します。
この時、ろうそくに火をつけて、花などといっしょに流すこともあります。
วันที่ 16 เดือนสิงหาคมนั้นถือเป็นวันส่งบรรพบุรุษ
ผู้คนก็จะนำขนมหรือดอกไม้ไปลอยที่แม่น้ำ
และในตอนนี้บางทีก็มีการจุดเทียนแล้วก็ปล่อยลอยไปพร้อมๆ กับดอกไม้