รูปสามารถนั้น นอกจากจะใช้ V dic. ことができます (บทที่16-1-1 )แล้ว ยังสามารถผันคำกริยา 1 ตัวให้เป็นรูปสามารถได้ด้วย
5だんどうし / consonant-root verbs / -u verbs | |||
|
|||
1だんどうし / vowel-root verbs / -ru verbs | |||
|
|||
ふきそくどうし / irregular verbs | |||
|
ขอให้สังเกตว่ากริยาเมื่อผันเป็นรูปสามารถแล้วจะลงท้ายด้วยเสียง iru และ eru หรือที่เรียกว่า กริยากลุ่ม 2
table 16-1-2-2.
5だんどうし / consonant-root verbs |
Potential Form =1だんどうし/vowel-root verb |
かきます かく かかない |
かけます かける かけない |
กรรมตรงของกริยาโดยทั่วไปจะตามด้วยคำช่วย を แต่ถ้าในกรณีที่เป็นกริยารูปสามารถ を มักจะเปลี่ยนเป็น が (เช่น NがV)
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีการใช้ を ตามหลังกรรมตรงในประโยคที่คำกริยาอยู่ในรูปสามารถได้ เช่น さしみ[を] 食べられます
マリアさんは ピアノが ひけます。
คุณมาเรียเล่นเปียโนได้
りゅう学生は この りょうに 入れます。
นักเรียนต่างชาติเข้าหอพักนี้ได้
しけんの 時、こたえが 思い出せませんでした。
ตอนสอบ คิดคำตอบไม่ออก
もう いちど 日本へ 来られますか。
จะมาญี่ปุ่นได้อีกหรือเปล่า