เป็นโครงสร้างพื้นฐานของสำนวนถูกกระทำ จากประโยค XはYをVます Y ซึ่งเป็นกรรมตรง(ผู้รับการกระทำ) จะทำหน้าที่เป็นประธานในประโยคถูกกระทำ X คือผู้กระทำ และ Y คือ ผู้รับการกระทำ
( คุณมานะถูกอาจารย์ดุ)
( อาจารย์ดุคุณมานะ)
5だんどうし / consonant-root verbs / -u verbs | |||
|
|||
|
|||
1だんどうし / vowel-root verbs / -ru verbs | |||
|
|||
ふきそくどうし / irregular verbs | |||
|
รูปถูกกระทำของกริยากลุ่ม 2 และ กริยา 来る(มา) จะคล้ายกับกริยารูปสามารถ (บทที่ 16-1)
รูปถูกกระทำจะผันเหมือนกับกริยากลุ่ม 2
はなされます はなされる はなされない はなされた |
みられます みられる みられない みられた |
こられます こられる こられない こられた |
わたしは先生にほめられました。
(ฉันได้รับคำชมจากอาจารย์)
あの先生は学生たちにそんけいされています。
(อาจารย์คนนั้นได้รับความเคารพจากบรรดานักศึกษา)
กริยา しょうかいする(แนะนำ) เป็นการกระทำที่เกี่ยวข้องกับคน 3 คน จึงสามารถทำเป็นรูปถูกกระทำได้ 2 แบบ จากประโยค Aさんは Bさんを Cさんに しょうかいしました(คุณเอแนะนำคุณบีให้คุณซี)
(ฉันถูกคุณเอแนะนำให้(รู้จักกับ)คุณซี)
(ฉันถูกคุณเอแนะนำให้รู้จักคุณบี)